การอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ ผลิตภัณฑ์ ธุรกิจเพื่อสังคม นำเสนอแนวคิดรอบที่ 1 (Training) โครงการ “Clean Air Heroes 2023 (ปี 2)”
การอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ ผลิตภัณฑ์ ธุรกิจเพื่อสังคม นำเสนอแนวคิดรอบที่ 1 (Training) โครงการ “Clean Air Heroes 2023 (ปี 2)” ออกแบบและสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์จากเศษพืชผลทางการเกษตร โดย UNDP Thailand ร่วมกับ ศูนย์ ICT อุทยานการเรียนรู้แม่ฮ่องสอน ในวันที่ 16 – 17 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ ลานหมอกใหม่ ชั้น 1 ศูนย์พัฒนาทักษะและการเรียนรู้ ICT แม่ฮ่องสอน อุทยานการเรียนรู้แม่ฮ่องสอน
กล่าวเปิดงาน โดย นายสุเทพนุชทรวง ประธานสภาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน กล่าวแนะนำโครงการ โดย อาจารย์เอมอร ลิ้มวัฒนา หัวหน้าศูนย์ ICT อุทยานการเรียนรู้แม่ฮ่องสอน วิทยากรโดย คุณณิชกานต์ ธรมธัช เจ้าหน้าที่งานเยาวชนและนวัตกรรมเพื่อสังคม และคุณพัทธมน รุ่งวาลนนท์ Head of Solution Mapping จากUNDP Thailand
โดยมีเยาวชนเข้าร่วมการอบรม จาก 4 อำเภอ 7 โรงเรียน 13 ทีม เพื่อเตรียมความพร้อมในการออกแบบสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์จากเศษพืชผลทางการเกษตร และแนวคิดการทำธุรกิจเพื่อสังคม เปลี่ยนวิกฤตมลพิษทางอากาศ จากการเผาที่ก่อให้เกิด PM 2.5 ให้เป็นโอกาสในการสร้างรายได้ จากสิ่งประดิษฐ์เพื่อแก้ไขปัญหามลพิษ และสร้างอากาศสะอาด ปลอดภัย ชุมชนที่ยั่งยืน
โรงเรียนเข้าร่วมการอบรม จาก 4 อำเภอ 7 โรงเรียน 13 ทีมดังนี้
โรงเรียนห้องสอนศึกษา ในพระอุปถัมภ์ฯ ทีม Marshmallow , ทีม Area 51 , ทีม Fresh Air By Corn Husks
โรงเรียนเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน ทีม TMMS, ทีม D.I.Y. Agricultural waste materials
วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีแม่ฮ่องสอน ทีม Acc nawamin, ทีม AE Nawamin, ทีม nawamin
โรงเรียนขุนยวมวิทยา ทีม K-wit
โรงเรียนบ้านแม่ปาง ทีม Products from corn husks
วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน หน่วยจัดแม่สะเรียง ทีม new change, ทีม หนอนกู้โลก
โรงเรียนแม่สะเรียง “บริพัตรศึกษา” ทีม Boripat
กล่าวเปิดงาน โดย นายสุเทพนุชทรวง ประธานสภาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน กล่าวแนะนำโครงการ โดย อาจารย์เอมอร ลิ้มวัฒนา หัวหน้าศูนย์ ICT อุทยานการเรียนรู้แม่ฮ่องสอน วิทยากรโดย คุณณิชกานต์ ธรมธัช เจ้าหน้าที่งานเยาวชนและนวัตกรรมเพื่อสังคม และคุณพัทธมน รุ่งวาลนนท์ Head of Solution Mapping จากUNDP Thailand
โดยมีเยาวชนเข้าร่วมการอบรม จาก 4 อำเภอ 7 โรงเรียน 13 ทีม เพื่อเตรียมความพร้อมในการออกแบบสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์จากเศษพืชผลทางการเกษตร และแนวคิดการทำธุรกิจเพื่อสังคม เปลี่ยนวิกฤตมลพิษทางอากาศ จากการเผาที่ก่อให้เกิด PM 2.5 ให้เป็นโอกาสในการสร้างรายได้ จากสิ่งประดิษฐ์เพื่อแก้ไขปัญหามลพิษ และสร้างอากาศสะอาด ปลอดภัย ชุมชนที่ยั่งยืน
โรงเรียนเข้าร่วมการอบรม จาก 4 อำเภอ 7 โรงเรียน 13 ทีมดังนี้
โรงเรียนห้องสอนศึกษา ในพระอุปถัมภ์ฯ ทีม Marshmallow , ทีม Area 51 , ทีม Fresh Air By Corn Husks
โรงเรียนเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน ทีม TMMS, ทีม D.I.Y. Agricultural waste materials
วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีแม่ฮ่องสอน ทีม Acc nawamin, ทีม AE Nawamin, ทีม nawamin
โรงเรียนขุนยวมวิทยา ทีม K-wit
โรงเรียนบ้านแม่ปาง ทีม Products from corn husks
วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน หน่วยจัดแม่สะเรียง ทีม new change, ทีม หนอนกู้โลก
โรงเรียนแม่สะเรียง “บริพัตรศึกษา” ทีม Boripat